ไก่ชน ไทย - AN OVERVIEW

ไก่ชน ไทย - An Overview

ไก่ชน ไทย - An Overview

Blog Article

ขนตัวของไก่ชนจะเป็นสีอะไรก็แล้วแต่แยกออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ ขนแห้ง กับ ขนเปียก ขนแห้ง คือขนที่มีมันน้อย คล้ายกับขนไก่ตาย นักเลงไก่ชนนิยมกันมากเพราะถือว่าเป็นลักษณะที่ดีอย่างหนึ่ง เวลาให้น้ำหรือพานน้ำจะอุ้มน้ำได้ง่าย ส่วนขนเปียก คือขนที่เป็นมันเลื่อมพรายอยู่ตลอดเวลา บางแห่งเรียกว่า “ขนแพร” ก็ว่า เวลาให้น้ำไม่ใคร่เปียกหรืออุ้มน้ำได้ง่ายเหมือนขนแห้ง ไก่ชนที่มีขนแบบนี้นักเลงไก่ชนไม่ค่อยนิยมเอามาเลี้ยงกันนัก เพราะถือว่าเป็นลักษณะที่ไม่ดีอย่างหนึ่ง

สีทั่วไปของไก่ชนภาคใต้มีอยู่หลายสี โดยมีแม่สีหรือชาติตระกูลใหญ่ ๆ ดังนี้คือ เหลือง เขียว ด่าง กด ยิ่ว (เหยี่ยว) ชี ขี้เถ้า เคี่ยม แดง เข็ม ดอกหมาก ลาย ฯลฯ

พุกรา หมายถึง เก่าแก่ ถูกละทิ้งโดยไม่ได้รับการเอาใจใส่แต่อย่างใด เปรียบเหมือนไก่ที่หมดสภาพแล้วเอามาชนไม่ได้

๓. ฉาบเบื้องหรือคบเบื้อง (โร่เบื้องก็เรียก) ที่แผลเพื่อให้เกิดอาการชาบรรเทาความเจ็บปวดและอักเสบ

ความแข็งแกร่งทางร่างกาย : ไก่ชนต้องมีโครงสร้างร่างกายที่แข็งแรง กล้ามเนื้อที่ชัดเจนและพร้อมต่อการชน

๑๗. ช่องท้อง ได้แก่ ส่วนอกด้านล่างถัดโคนขาเข้าไปด้านในเป็นช่องว่างไม่มีกระดูกมีแต่เฉพาะเนื้อหนัง ไก่ชนที่ดีต้องมีช่องท้องเล็กหรือแคบ

 เป็นที่เคารพนับถือกันมาก โดยเฉพาะ นักเลงชนไก่ ถือว่าเป็นเจ้าพ่อสำหรับบนบานของการชนไก่

๘. ถ้าเดือยหักหรือหลุดจะต้องผูกรัดใหม่ให้แน่นในตำแหน่งเดิม แต่ถ้าผูกไม่ได้ก็จะต้องปล่อยให้ชนต่อไปทั้ง ๆ เดือยหลุด

ไก่สีดอกหมากหางขาว เป็นไก่ชนพันธุ์แท้ที่ปัจจุบันพบได้น้อยมาก มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับไก่ชนเหลืองหางขาว และบางท่านเชื่อว่าเป็นสายพันธุ์ที่มาจากไก่เหลืองหางขาว โดยมีถิ่นกำเนิดในภาคกลาง มีลักษณะเด่น คือ ไก่ชนตัวผู้จะมีสีพื้นเป็นสีดำ ขนสร้อยของส่วนคอ สร้อยปีก และและสร้อยอื่นๆ เป็นสีขาวอมเหลือง คล้ายกับสีของดอกหมาก พู่หางชิดกัน และยาวตรง โคนหางมีสีขาวอมตะกั่ว ปลายหางมีสีดำ ส่วนสีปาก สีแข้ง และสีเล็บ รวมถึงสีเดือยมีสีขาวอมเหลือง ส่วนตัวเมียมีลักษณะคล้ายกับตัวผู้เช่นกัน

๓. ใช้ชิ้นส่วนหรือเศษของไม้คานหักทำให้ไก่มีลำหักลำโค่นดี

หางลุ่น เป็นทรงหางที่ไม่ค่อยมีขนหางหรือหางสั้นเกินไป มักไม่ค่อยเป็นที่นิยมเอามาเป็นไก่ชนเพราะไม่ได้ช่วยพยุงน้ำหนักตัวหรือช่วยในการทรงตัวแต่อย่างใดเลย มักจะล้มลุกคลุกคลานขณะที่ ต่อสู้กัน

๕. ตา ตาไก่ชนที่ดีจะต้องนิ่งไม่ลอกแลกและไม่หลบสายตาคู่ต่อสู้ หรือมีตาดุเหมือนตาเหยี่ยว และจะต้องเป็นตาเล็กแบบตาปลาดุก นัยน์ตาดำเล็ก นัยน์ตาขาวมีเส้นเลือดเล็ก ๆ สีแดง อยู่ทั่วไป เรียกตามภาษานักเลงไก่ชนว่า “เส้นตาหยาบ” วงของดวงตาจากหัวตามาจรดหางตาเป็นรูปตัววีตะแคง (>) คล้ายตาของคน จึงดูเหมือนตาเรียวเล็กสดใส และนัยน์ตาจะอยู่ลึกลงไปในเบ้าตา ไก่ชนที่มีตาเหลือก ตาลอกแลก ถึงจะดีเพียงใดก็ตาม แต่เป็นไก่ชนที่ไม่รักเดิมพัน บทมันจะไม่สู้ขึ้นมาก็จะวิ่งหนีเสียดื้อ ๆ เท่านั้นเอง ไก่ชนชนิดตาลอยมีนัยน์ตากลม สดใส นัยน์ตาลอยกลอกกลิ้งลอกแลกอยู่เสมอ มักเป็นไก่ฉลาด แต่ใจน้อย นัยน์ตาขาวหรือตาขาวของไก่ชนมีหลายสี เช่น แดง เหลือง ขาว ดำ หม่น (ค่อนข้างดำ) และบางตัวมีจุดประดำในตาขาวด้วย นัยน์ตาสีขาวเป็นลักษณะของนัยน์ตาไก่ชนที่ดีที่สุด แต่ก็มีบางตัวที่มีนัยน์ตาคือตาขาวไม่เหมือนกัน เช่น ข้างหนึ่งขาวแต่อีกข้างหนึ่งเหลือง บางตำราว่าดี บางตำราว่าไม่ดี เรียกว่า “ลักเค้า”

๑๑. ตาลาย คือนัยน์ตาขาวมีจุดประไปทั่ว

๒๓. เดือยปัดตลอด หมายถึงว่าเดือยไก่นั้นมีรูเล็ก ๆ จากปลายเดือยถึงโคนเดือย เอาเส้นผมแยงดูได้ เป็นหว้าชั้นดีของไก่ชนชนิดหนึ่งไก่ชน ไทย

Report this page